โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้
ม.6/7 รุ่น72 ปี2562
𝗛𝗢𝗠𝗘𝗣𝗔𝗚𝗘 MY FRIENDSHIP 𝙢𝙮 𝙘𝙡𝙖𝙨𝙨𝙧𝙤𝙤𝙢 6/7 𝙈𝙀𝙈𝘽𝙀𝙍𝙎 นายจิรัฏฐ์ ภิญโญชีพ ม.6/7 เลข ที่1 นายพชร มูลคำ ม.6/7 เลขที่2 นายธนยศ ส่องแสง ม.6/7 เลขที่3 นายนวพรรษ กรุณากร ม.6/7 เลขที่ 4 นายเอกดนัย หล่าหา ม.6/7 เลขที่5 นายธนกฤต แก้วเรือนทอง ม.6/7 เลขที่6 นายนราธิป ทาทอง ม.6/7 เลขที่7 นายภควัฒน์ คุณล้าน ม.6/7 เลขที่8 นายภานุวิชญ์ เพียมูล ม.6/7 เลขที่9 นายสิรวิชญ์ เมฆวงศา ม.6/7 เลขที่10 นายกนก บำรุงกุล ม.6/7 เลขที่ 11 นายพัชรพล เต็งสมเพรช ม.6/7 เลขที่12 น ายอัควัฒน์ ยิ่งวรวัฒนาเลิศ ม.6/7 เลขที่13 น.ส.ปิยะสุดา รอดย้อย ม.6/7 เลขที่ 14 น.ส.เสาวภาคย์ อึ่งหนองบัว ม.6/7 เลขที่ 15 น.ส.จีรนันท์ วงศ์นรา ม.6/7 เลขที่16 น.ส.ณัฎฐา อิ่มบัว ม.6/7 เลขทึ่ 17 น.ส.สิรินทร์มณี เพ็ชรพลอย ม.6/7 เลขที่18 น.ส.อิรวดี ฉายเพ็ชร ม.6
สารรอบตัว
HOMEPAGE สารรอบตัว สมบัติของสาร สาร หมายถึง สิ่งที่มีมวล ต้องการที่อยู่และสัมผัสได้ มีทั้งสถานะที่เป็นของแข็ง ของเหลว และก๊าซ ตัวอย่างเช่น เงิน (Ag) และเกลือแกง (NaCl) เป็นของแข็ง น้ำ (H 2 O) และเอธานอล (C 2 H 5 O) เป็นของเหลว คาร์บอนไดออกไซด์ (CO 2 ) และก๊าซออกซิเจน (O 2 ) เป็นก๊าซ เป็นต้น สมบัติของสาร หมายถึง ลักษณะประจำตัวของสาร เช่น สถานะ สี กลิ่น รส การละลาย การนำไฟฟ้า จุดเดือด และการเผาไหม้ เป็นต้น สมบัติของสาร อาจจะนำมาแบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ สมบัติทางกายภาพ หมายถึง สมบัติเฉพาะตัวของสารที่สามารถสังเกตเห็นได้ง่ายจากลักษณะภายนอก หรือจากการทดลองง่ายๆ โดยไม่เกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวอย่างทางกายภาพได้แก่ สถานะ รูปร่าง สี กลิ่น รส การละลาย จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความหนาแน่น การนำความร้อน การนำไฟฟ้า ความร้อนแฝง ความถ่วงจำเพาะ เป็นต้น สมบัติทางเคมี หมายถึง สมบัติเฉพาะตัวของสารที่เกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เช่น การเกิดสารใหม่ การสลายตัวให้ได้สารใหม่ การเผาไหม้ การระเบิด และการเกิดสนิมของโลหะ เป็นต้น การจำแนกสาร ก
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น