บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กรกฎาคม, 2019

ม.6/7 รุ่น72 ปี2562

รูปภาพ
𝗛𝗢𝗠𝗘𝗣𝗔𝗚𝗘 MY FRIENDSHIP 𝙢𝙮 𝙘𝙡𝙖𝙨𝙨𝙧𝙤𝙤𝙢 6/7 𝙈𝙀𝙈𝘽𝙀𝙍𝙎 นายจิรัฏฐ์ ภิญโญชีพ ม.6/7 เลข ที่1 นายพชร มูลคำ ม.6/7 เลขที่2 นายธนยศ ส่องแสง ม.6/7 เลขที่3 นายนวพรรษ กรุณากร ม.6/7 เลขที่ 4 นายเอกดนัย หล่าหา ม.6/7 เลขที่5 นายธนกฤต แก้วเรือนทอง ม.6/7 เลขที่6 นายนราธิป ทาทอง ม.6/7 เลขที่7 นายภควัฒน์ คุณล้าน ม.6/7 เลขที่8 นายภานุวิชญ์ เพียมูล ม.6/7 เลขที่9                                                                                   นายสิรวิชญ์ เมฆวงศา ม.6/7 เลขที่10 นายกนก บำรุงกุล ม.6/7 เลขที่ 11 นายพัชรพล เต็งสมเพรช ม.6/7 เลขที่12 น ายอัควัฒน์ ยิ่งวรวัฒนาเลิศ ม.6/7 เลขที่13 น.ส.ปิยะสุดา รอดย้อย ม.6/7 เลขที่ 14 น.ส.เสาวภาคย์ อึ่งหนองบัว ม.6/7 เลขที่ 15 น.ส.จีรนันท์ วงศ์นรา ม.6/7 เลขที่16 น.ส.ณัฎฐา อิ่มบัว ม.6/7 เลขทึ่ 17 น.ส.สิรินทร์มณี เพ็ชรพลอย ม.6/7 เลขที่18 น.ส.อิรวดี ฉายเพ็ชร ม.6

ปฏิกิริยาเคมี

รูปภาพ
HOMEPAGE ปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาเคมี  คือ กระบวนการเปลี่ยนของสารตั้งต้นไปเป็นสารใหม่ โดยปริมาณสารตั้งต้นจะลดลง และปริมาณสารใหม่จะเกิดขึ้น และเพิ่มปริมาณขึ้นเรื่อยๆ เมื่อเวลาผ่านไป  โดยสามารถเขียนให้เข้าใจง่ายด้วยสมการเคมี ปฏิกิริยาเคมีจำแนกเป็น 2 ประเภท คือ 1. ปฏิกิริยาเคมีสมบูรณ์ คือ การเกิดสารใหม่ขณะที่สารตั้งต้นตัวใดตัวหนึ่งหมดไปหรือหมดทุกตัว 2. ปฏิกิริยาเคมีไม่สมบูรณ์ คือ การเกิดสารใหม่ขณะที่สารตั้งต้นยังเหลือทุกตัว ไม่มีตัวใดตัวหนึ่งหมดไป ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาเคมี 1. ทฤษฎีการชนโมเลกุล (Collision Theory) กล่าวถึง โมเลกุลของสารต้องมีการชนซึ่งกันและกัน ซึ่งการชนกันแต่ละครั้งไม่จำเป็นต้องเกิดปฏิกิริยา 2. ทฤษฎีจลน์ของโมเลกุล (Kinetic Theory) กล่าวถึง โมเลกุลต้องมีการเคลื่อนที่ช้าลง ซึ่งก่อให้เกิดพลังงานจลน์ โดยโมเลกุลต้องมีพลังงานสูงพอจึงจะเกิดปฏิกิริยาได้ สถานะการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1. ต้องมีจำนวนโมเลกุลมากพอ 2. ต้องมีการชนกันระหว่างโมเลกุล 3. ต้องมีพลังงานสูงพอ โดยอย่างน้อยต้องเท่ากับพลังงานก่อกัมมันต์ 4. ต้องมีทิศทางที่เหมาะสม ศาสตร์ทางเคมีที่เกี

สารละลายกรด – เบส

รูปภาพ
HOMEPAGE สารละลายกรด – เบส สมบัติของสารละลายกรด – เบส                สารละลายต่าง ๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำวันแต่ละชนิดจะมีสมบัติแตกต่างกัน มีทั้งชนิดที่มีฤทธิ์กัดกร่อนหรือที่เรียกว่า มีสมบัติเป็นกรด และชนิดที่มีสมบัติเป็นเบส สารบางชนิดเป็นอันตราย แต่บางชนิดสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ สมบัติของสารละลายกรด-เบส จึงเป็นเกณฑ์อีกประเภทหนึ่งที่นักวิทยาศาสตร์นำมาใช้ในการจำแนกประเภทของสาร ภาพ  กรดแบตเตอรี่ สารละลายกรด                                                   กรด หมายถึง สารประกอบที่มีธาตุไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบ เมื่อละลายน้ำแล้วสามารถแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน ( H +  )        สมบัติของสารละลายกรด กรดทุกชนิดมีรสเปรี้ยว เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินเป็นสีแดง (มีค่าpH น้อยกว่า 7) ทำปฏิกิริยากับโลหะ เช่น สังกะสี ทองแดง แมกนีเซียม อะลูมิเนียม จะได้ฟองแก๊สไฮโดรเจนออกมา กรดมีสมบัติกัดกร่อนโลหะ หินปูน เนื้อเยื่อของร่างกาย ถ้ากรดถูกผิวหนังจะทำให้ผิวหนังไหม้ ปวดแสบปวดร้อน  ถ้ากรดถูกเส้นใยของเสื้อผ้า เส้นใยจะถูกกัดกร่อนให้ไหม้ได้ นอกจากนี้ยังทำลายเนื้อไม้ กระดาษ และพลาสติกบางช